ศิลปะลัทธิโฟวิสม์
โฟวิสม์ Fauvism หมายถึง
ลัทธิสัตว์ป่า
- เมื่อเปรียบกับรูปแบบศิลปะสมัยเรอแนสซองส์ซึ่งงามตามหลักสุนทรียภาพเดิม ขณะที่ผลงานของ กลุ่มศิลปินศิลปะลัทธิโฟวิสม์กลับให้สีสันโฉ่งฉ่าง
- แสดงถึงความเป็นปฏิปักษ์กันอย่างเห็นได้ชัด
ศิลปินลัทธิโฟวิสม์
- งานสำคัญคือ ภาพ “ภาพเปลือยกับลวดลายเบื้องหลัง” “ ห้องสีแดง”
- มาทีสส์สร้างงานที่ไม่เน้นรายละเอียดแบบโฟวิสม์ผ่านงานประติมากรรมด้วยและเป็นที่ยอมรับทั่วไป
- ส่งผลต่อวงการประติมากรรมสมัยใหม่เป็นอย่างมาก
Henri Matiss. Odalisque with a
Tambourine. Nice, place Charles-Félix, winter 1925-26
มาดามมาทิสส์ โดย มาทิสส์,
๑๙๐๕
ศิลปะลัทธิเอ็กเพรสชันนิสม์
Expressionism Art
เอ็กเพรสชันนิสม์ หมายถึง การแสดงออกทางศิลปะ ที่ตัดทอนรูปทรงและสีสันอย่างเสรีที่สุด ตามแรงปรารถนา
ศิลปินสำคัญ ได้แก่ มาทีสส์ (Henri
Matisse), เบคมานน์( Max Beckmann),รูโอลท์ ( Georges
Rouault),
Gen Paul, มาร์ค(Franz Marc), แคนดินสกี(Wassily Kandinsky) โนลเด(Emil Nolde)
Gen Paul, มาร์ค(Franz Marc), แคนดินสกี(Wassily Kandinsky) โนลเด(Emil Nolde)
ความเคลื่อนไหวของศิลปะเอกเพรสชันนิสม์ที่สำคัญมี
2
กลุ่ม คือ
1.ศิลปินกลุ่มสะพาน (The Bridge)
1.ศิลปินกลุ่มสะพาน (The Bridge)
- สะท้อนความสับสน ความอัปลักษณ์ของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และศาสนา ความสกปรกของ สังคม ความเหลวแหลกโสมม หลอกลวง ใช้สีที่รุนแรง
2. กลุ่มม้าสีน้ำเงิน(The Blue Rider)
- ชื่อลัทธิมาจากความนิยมในการเขียนรูปม้า และคนขี่ม้าของแกนนำทั้งสอง โดยใช้สีน้ำเงินเป็นหลัก
ศิลปะลัทธิ
Cubism Art
ลัทธิคิวบิสม์ได้แนวคิด
และอิทธิพลการถ่ายทอดสิ่งแวดล้อมผ่านการสร้างเป็นรูปทรงที่เรียบง่ายจากผลงานของเซซานน์
โดยแทนค่ารูปทรงด้วยแสงสีอันระยิบระยับ ให้บรรยากาศตามช่วงเวลาเท่านั้น
แนวทางการสร้างสรรค์ศิลปะลัทธิคิวบิสม์
1.ตัดทอน ย่อส่วน เพิ่มเติม และตกแต่งรูปทรงของวัตถุ ถือหลักการเพิ่มของส่วนประกอบ เพื่อให้ผลงานสมบูรณ์
2.คำนึงถึงรูปทรงเปิดและปิด โดยพิจารณาความสัมพันธ์ของพื้นที่ว่างในส่วนรูปทรงและพื้นผิว
3.คำนึงถึงความตื้นลึกด้วยรูปทรง ขนาด การทับซ้อนกัน การบังคับและการทำให้โปร่งใสคล้ายภาพเอ็กซเรย์
4.เปิดโอกาสให้ผู้ดูมีเสรีภาพในการใช้ปัญญาพินิจพิจารณาด้วยตนเอง ถือว่าศิลปะเป็นสิ่งที่ผู้ดูสามารถชื่นชมด้วยตนเอง
1.ตัดทอน ย่อส่วน เพิ่มเติม และตกแต่งรูปทรงของวัตถุ ถือหลักการเพิ่มของส่วนประกอบ เพื่อให้ผลงานสมบูรณ์
2.คำนึงถึงรูปทรงเปิดและปิด โดยพิจารณาความสัมพันธ์ของพื้นที่ว่างในส่วนรูปทรงและพื้นผิว
3.คำนึงถึงความตื้นลึกด้วยรูปทรง ขนาด การทับซ้อนกัน การบังคับและการทำให้โปร่งใสคล้ายภาพเอ็กซเรย์
4.เปิดโอกาสให้ผู้ดูมีเสรีภาพในการใช้ปัญญาพินิจพิจารณาด้วยตนเอง ถือว่าศิลปะเป็นสิ่งที่ผู้ดูสามารถชื่นชมด้วยตนเอง
5.คำนึงถึงความกลมกลืนของทัศนธาตุ(เส้น
สี แสงเงา รูปร่าง ลักษณะผิว) เมื่อประกอบกันเป็นเรื่องราวที่รู้จักเป็นอย่างดี รูปทรงที่เด่นได้แก่รูปทรงที่เกิดจาก
เส้นเว้า เส้นตรงผสานกันอย่างเหมาะสม
6.คำนึงถึงส่วนย่อยและส่วนรวมพร้อมกัน เพื่อให้เกิดความกลมกลืนพอ ๆ กับคำนึงถึงลักษณะผิวหน้าของวัสดุแต่ละชนิด
6.คำนึงถึงส่วนย่อยและส่วนรวมพร้อมกัน เพื่อให้เกิดความกลมกลืนพอ ๆ กับคำนึงถึงลักษณะผิวหน้าของวัสดุแต่ละชนิด
PICASSO, "Guernica"
สมบัติส่วนตัวของปิคัสโซ, 1937
ศิลปะลัทธินามธรรม
Abstractionism
Art
ศิลปะนามธรรม
จำแนกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ
1.ศิลปะนามธรรมแบบโรแมนติก
สร้างงานที่แสดงอารมณ์ความรู้สึกอย่างเสรี โดยส่งผ่านลักษณะรูปแบบศิลปะที่อิสระ
- ศิลปินอาจมีพื้นฐานทางอารมณ์มาจากความรัก ความเศร้า ความห้าวหาญ ฯลฯ แล้วแสดงออกอย่างทันที
2.ศิลปะนามธรรมแบบคลาสสิค
- สร้างงานที่ผ่านการคิดไตร่ตรองการวางแผนอย่างมีระบบมีกฎเกณฑ์
- โดยใช้รูปทรงเรขาคณิตควบคุม ศิลปินกลุ่มนี้มีมงเดรียน(Mondrian) เป็นผู้นำ
- ให้อิทธิพลต่อ Abstract แบบขอบคม (Op Art) ในอเมริกา
ศิลปะลัทธิฟิวเจอริสม์ (Futurism
Art)
ศิลปะลัทธิฟิวเจอริสม์
ได้ชื่อจากความเชื่อทางศิลปะของศิลปินและแนวทางการสร้างงาน คือ
- มุ่งแสดงความรู้ เคลื่อนไหว จากบริบทของสังคมยุคเครื่องจักรกล ที่แพร่ในยุโรป
- ต้องการแสดงออกถึงลักษณะของสังคมยุคใหม่
ศิลปินลัทธิฟิวเจอริสม์
ศิลปินเกือบทั้งหมดเป็นชาวอิตาลี อาทิ
- บอคโซนี (Boczoni)
- บาลลา (Balla)
- คาร์รา(Carra)
- เซเวอรินี (Severini)
- รุสโซโล (Russolo)
อ้างอิงจาก : http://rernua.blogspot.com/2012/12/fauvism-expressionism-cubism.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น